เทคนิคการใช้งาน Google Form
Google Form เป็นหนึ่งในชุดเอกสารออนไลน์จาก Google ความสามารถหลักของตัว Google Form นั้นคือการสร้างชุดคำถาม ส่งชุดคำถามนั้นไปยังกลุ่มเป้าหมาย และรวบรวมคำตอบจากผู้ตอบ
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน เช่น แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของลูกค้า แบบสอบถามความคิดเห็นจากบุคคลกรฝ่ายต่างๆ แบบทดสอบความรู้สำหรับประเมินนักเรียน ฯลฯ
การสร้างและใช้งาน Google Form นั้น ค่อนข้างตรงไปตรงมา คือตั้งคำถาม ระบุคำตอบ แต่จะมีรายละเอียดบางส่วนที่จะช่วยให้เราปรับใช้ Google Form ได้ตรงตามความต้องการมากยิ่งขึ้น
Text: คำตอบเป็นตัวอักษร ความยาวไม่มาก เช่น ชื่อ นามสกุล อีเมล เบอร์โทรศัพท์ ฯลฯ
Paragraph text: คำตอบเป็นตัวอักษร มีเนื้อหาเยอะ เช่น ที่อยู่ การแสดงความเห็น ข้อเสนอแนะ ฯลฯ
Multiple choice: มีคำตอบให้เลือก และเลือกตอบได้เพียงคำตอบเดียว
Checkboxes: มีคำตอบให้เลือก และเลือกตอบได้หลายคำตอบ
Choose from a list: มีคำตอบให้เลือก และเลือกตอบได้เพียงคำตอบเดียว เหมือน "Multiple choice" แต่การแสดงผลจะแสดงเป็น dropdown list คือใช้พื้นที่แสดงผลบรรทัดเดียว เหมาะกับคำตอบที่มีตัวเลือกจำนวนมากๆ เช่น เลือกภาษา ประเทศ
Scale: ระบุเป็นค่าน้ำหนักของคำตอบ เช่น ให้เลือกระดับความพึงพอใจ 1 = น้อยสุด 5 = มากสุด
Grid: เหมือน Scale คือให้เลือกเป็นค่าน้ำหนัก แต่สามารถระบุคำถามเป็นชุดๆได้
ตัวอย่างการใช้งานเช่น ในแบบสอบถามชุดเดียวกัน มีคำถามเฉพาะสำหรับผู้ตอบในกลุ่มอายุต่างๆ หากผู้ตอบอยู่ในกลุ่ม 12-25 ให้ข้ามไปหน้า 2 ของแบบสอบถาม หากผู้ตอบอยู่ในกลุ่มอายุมากกว่า 25 ให้ข้ามไปหน้า 3 ก็สามารถตั้งค่าที่ Google Form ตามภาพด้านล่างนี้ได้
สำหรับองค์กรที่สนใจนำ Google Form มาใช้ภายในองค์กร รวมถึงความสามารถต่างๆ ของ Google Apps เช่น ระบบ social network Google+ เหล่านี้มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานขององค์กร สามารถติดต่อได้ที่ google@tangerine.co.th
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน เช่น แบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของลูกค้า แบบสอบถามความคิดเห็นจากบุคคลกรฝ่ายต่างๆ แบบทดสอบความรู้สำหรับประเมินนักเรียน ฯลฯ
แบบสอบถามในรูปแบบกระดาษ จะต้องเสียเวลาไปกับการรวบรวมข้อมูล นำข้อมูลมาใส่ในรูปแบบดิจิตอล และนำมาประมวลผล ซึ่งหากใช้ Google Form จะสามารถลดขั้นตอนทั้งหมดนี้ได้ทันที |
การสร้างและใช้งาน Google Form นั้น ค่อนข้างตรงไปตรงมา คือตั้งคำถาม ระบุคำตอบ แต่จะมีรายละเอียดบางส่วนที่จะช่วยให้เราปรับใช้ Google Form ได้ตรงตามความต้องการมากยิ่งขึ้น
เก็บข้อมูล username ของผู้ตอบโดยอัตโนมัติ
ความสามารถนี้จะมีเฉพาะผู้ใช้งาน Google Apps เท่านั้น โดยเราจะต้องเลือกตัวเลือกทั้ง 2 ตามภาพด้านล่าง- ตัวเลือกแรกเป็นการระบุให้ผู้ตอบต้อง login ด้วยโดเมนของผู้ใช้ก่อนจึงจะเข้าถึงแบบสอบถามได้ (เหมาะกับแบบสอบถามภายใน ที่มีข้อมูลความลับ หรือข้อมูลเฉพาะภายในองค์กร)
- ตัวเลือกที่สอง เป็นการระบุว่า Form จะเก็บข้อมูล username ของผู้ตอบโดยอัตโนมัติ ทำให้เราสามารถรู้ได้ว่า ใครมาตอบแบบสอบถาม และตอบว่าอะไรบ้าง
เลือกประเภทคำตอบให้เหมาะสม
ประเภทของคำตอบจะมีให้เลือก 7 รูปแบบ ดังนี้Text: คำตอบเป็นตัวอักษร ความยาวไม่มาก เช่น ชื่อ นามสกุล อีเมล เบอร์โทรศัพท์ ฯลฯ
Paragraph text: คำตอบเป็นตัวอักษร มีเนื้อหาเยอะ เช่น ที่อยู่ การแสดงความเห็น ข้อเสนอแนะ ฯลฯ
Checkboxes: มีคำตอบให้เลือก และเลือกตอบได้หลายคำตอบ
Choose from a list: มีคำตอบให้เลือก และเลือกตอบได้เพียงคำตอบเดียว เหมือน "Multiple choice" แต่การแสดงผลจะแสดงเป็น dropdown list คือใช้พื้นที่แสดงผลบรรทัดเดียว เหมาะกับคำตอบที่มีตัวเลือกจำนวนมากๆ เช่น เลือกภาษา ประเทศ
Scale: ระบุเป็นค่าน้ำหนักของคำตอบ เช่น ให้เลือกระดับความพึงพอใจ 1 = น้อยสุด 5 = มากสุด
Grid: เหมือน Scale คือให้เลือกเป็นค่าน้ำหนัก แต่สามารถระบุคำถามเป็นชุดๆได้
แบ่งส่วนของแบบสอบถาม โดยอ้างอิงจากคำตอบที่ได้
เราสามารถแบ่งส่วนแบบสอบถามเป็นหลายๆส่วน โดยสร้างแบบสอบถามแยกเป็นหลายๆหน้า หน้าแรกสุดจะเป็นหน้าที่ทุกคนเริ่มแบบสอบถาม แต่เราสามารถแยกกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามไปยังหน้าเฉพาะได้ โดยการเลือกประเภทคำตอบเป็น "Multiple choice" หรือ "Choose from a list" และเลือกตัวเลือก "Go to page based on answer"ตัวอย่างการใช้งานเช่น ในแบบสอบถามชุดเดียวกัน มีคำถามเฉพาะสำหรับผู้ตอบในกลุ่มอายุต่างๆ หากผู้ตอบอยู่ในกลุ่ม 12-25 ให้ข้ามไปหน้า 2 ของแบบสอบถาม หากผู้ตอบอยู่ในกลุ่มอายุมากกว่า 25 ให้ข้ามไปหน้า 3 ก็สามารถตั้งค่าที่ Google Form ตามภาพด้านล่างนี้ได้
---
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น